24

From InfoEx Help Information
Revision as of 02:10, 11 June 2019 by VeronicaFoxall6 (talk | contribs) (Created page with "จับประเด็นเป็นข่าว สัปดาห์นี้ไปติดตามแนวทางแก้ปัญหาราคายางพ...")
(diff) ← Older revision | Latest revision (diff) | Newer revision → (diff)
Jump to navigation Jump to search

จับประเด็นเป็นข่าว สัปดาห์นี้ไปติดตามแนวทางแก้ปัญหาราคายางพาราทั้งระบบ เพื่อสร้างเสถียรภาพราคายางอย่างยั่งยืน กับคุณศรีสุภางค์ ธรรมาวุธ
sbothai แหล่งรวมเว็บการพนันที่คอบอลนิยมที่สุดที่ thsbo333.com รายงานว่า
ราคายางพาราที่ดิ่งลงจนน่าใจหาย ล่าสุด ยางแผ่นดิบรมควันชั้น 3 เฉลี่ยเหลือเพียง 37 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ราคาต้นทุนอยู่ที่ กิโลกรัมละ 63 บาท ปมปัญหาส่วนหนึ่งมาจากปริมาณยางพารามีมาก,ประเทศผู้ใช้ยางทั้งจีน ,สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ชะลอคำสั่งซื้อ เนื่องจากเศรษฐกิจเริ่มชะลอตัว รวมทั้ง การเก็งกำไรของนักลงทุนทั้งตลาดซื้อขายจริงในประเทศ และตลาดล่วงหน้า

ร้อนถึงภาครัฐต้องเร่งหามาตรการช่วยเหลือ ด้วยการนำงบประมาณกลางกว่า 18,000 ล้านบาท เข้ามาอุดหนุนช่วยเหลือชาวสวนยางที่ลงทะเบียนเกษตรกรไว้กับการยางแห่งประเทศไทย หรือ กยท.เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรสวนยาง

นอกจากนี้ กยท.ยังได้กำหนดราคาขั้นต่ำของน้ำยางสด,ยางก้อนถ้วย และยางแผ่นรมควันไว้แล้ว หากชาวสวนยางนำผลผลิตไปขาย แล้วได้ราคาต่ำกว่าที่ประกาศไว้ ก็จะนำเงินจากกองทุนสงเคราะห์สวนยางเข้ามาช่วยเหลือเป็นรายบุคคลกิโลกรัมละ 2-3 บาท พร้อมยังวางแผนลดพื้นที่ปลูกยาง และส่งเสริมให้มีการใช้ยางในประเทศให้มากขึ้นด้วย

แน่นอนว่าการแก้ปัญหาต้องทำควบคู่กันไป ทั้งระยะสั้น และระยะกลาง ส่วนมาตรการระยะยาว ที่จะช่วยสร้างเสถียรภาพราคายางให้เกษตรกรไทยได้และเป็นอีกหนึ่งโครงการที่น่าจับตามอง นั่นก็คือ โครงการนิคมอุตสาหกรรมยางพารา หรือ Rubber City ในพื้นที่จังหวัดสงขลา

โดย Rubby City ใช้งบลงทุนถึง 1,600 ล้านบาท ชูจุดเด่นการเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงผู้ประกอบการจากกลุ่มประเทศผู้ผลิตยางรายใหญ่ของโลก ทั้งไทย, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ผนึกกำลังพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา ทั้งระบบผ่านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการผลิต หวังสร้างเสถียรภาพราคาให้ดีขึ้น

ล่าสุดพื้นที่เกิน 50 % ถูกจับจองจากกลุ่มนักลงทุนจากจีน, sbothai ญี่ปุ่น, sbothai ไต้หวัน และมาเลเซียแล้ว คาดว่าหากมีการลงทุนจนเต็มพื้นที่นิคมฯ ความต้องการใช้ยางในประเทศจะเพิ่มขึ้นอีกปีละกว่า 200,000 ตัน มูลค่าสูงถึง 14,000 ล้านบาท และยังทำให้เกิดการจ้างงานอีกไม่ต่ำกว่า 7,000 คน สร้างรายได้ให้ชาวสวนยางได้ในระยะยาว

บนโลกการค้าย่อมมีการแข่งขัน แม้ไทยจะมี Rubber city แต่ในระยะเวลาใกล้เคียงกันนี้ มาเลเซียก็ได้เริ่มผลักดัน โครงการ Kedah'Rubber city ที่อยู่ห่างจากไทย เพียง 80 กิโลเมตรเท่านั้น Rubber city จึงเป็นทั้งความหวัง และความท้าทายของไทย ที่เรายังคงต้องจับตามองกันต่อไป